การแพ้ไข่ ในภาษาไทย หรือ Egg allergy ในภาษาอังกฤษ
การแพ้ไข่คืออะไร หลายคนอาจจะยังไม่รู้ถึงความหมายลึกๆ การแพ้ไข่ แพ้ไข่เกิดขึ้นเมื่อระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายทำปฏิกิริยากับโปรตีนที่พบในไข่ขาว คือ โปรตีน Ovomucoid, Ovalbumin, Ovotransferrin (conalbumin) เป็นตัวที่ทำให้เกิดการแพ้บ่อย
ส่วน โปรตีนที่ทำให้เกิดการแพ้ได้บ่อยในไข่แดง คือ โปรตีน Lipoprotein กับ โปรตีน Livetin
อ้าว!! แพ้ไข่แล้วทำไงดีล่ะ ???? แล้วจะกินอะไรดี ในไข่ มีสารอาหาร วิตามินและเกลือแร่ มากมาย ที่จำเป็นต่อร่างกาย โดยสารอาหารตัวหลักที่สำคัญในไข่ จะมี protein, folate, vitamin B12, zinc, and iron ซึ่งเป็นสารอาหารที่จำเป็นต่อร่างกาย แต่จะบอกว่า ถ้าแพ้ไข่ เรายังสามารถ หาสารอาหารเหล่านี้ได้จากอาหารทดแทนต่างๆ ซึ่งบางอย่างก็หาได้ในอาหารทั่วๆไปในชีวิตประจำวันของเราเอง
ซึ่งสารอาหารเหล่านี้เราสามารถพบได้ตามแหล่งต่างๆ เช่น (ปล.ตัวโตๆ ให้เลือกทดแทนอาหาร จากอาหารตัวที่ไม่แพ้นะคะ อันนี้ เป็น guide line ให้เลือกดูค่ะ)
******Protein: โปรตีน เราสามารถทดแทนโปรตีนได้จาก เนื้อวัว,ปลา, ไก่,หมู, cheese, นมวัว , ถั่ว
*****Folate: สามารถทดแทนหรือหาแหล่งสารอาหาร folate ได้จาก
ตับวัว
ผักโขม : หนึ่งถ้วยของผักขมต้มที่มีเกือบ 263 ไมโครกรัมของกรดโฟลิค
พืชตระกูลถั่ว : ถั่วปินโต, ถั่ว, ถั่วลิมา, ถั่วกองทัพเรือ, ถั่ว garbanzo, ถั่วและถั่วสีดำมีโฟเลตสูง
หน่อไม้ฝรั่ง
มัสตาร์ด, หัวผักกาดเขียว
ผักตระกูลกะหล่ำ : Broccoli, กะหล่ำ, กะหล่ำปลีและกะหล่ำปลี
มะละกอ : มะละกอหนึ่งมีประมาณ 115 ไมโครกรัมของโฟเลต
ผักกาดหอม : สองถ้วยที่มีประมาณ 150 ไมโครกรัมของสารอาหาร
อาหารอื่น ๆ : ผักชีฝรั่ง, สาหร่ายทะเล, สควอช, แตงกวา, ถั่วเขียว, beets, ยี่หร่า, พริก, กระเทียม, มะเขือเทศ, ราสเบอร์รี่, แตงโม, มะเขือ, ข้าวโพด, ถั่วลิสง, อะโวคาโด, เมล็ดทดอกทานตะวัน, ส้ม, ส้มโอ, และผักคะน้า
******Vitamin B12: สามารถทดแทนได้จากเนื้อวัว, ปลา, shellfish,นมวัว, cheese,นมถั่วเหลือง
******Zinc: สังกะสี ทดแทนได้จาก
เนื้อวัว
ไก่
หอยกาบ
ปู
เนื้อแกะ
กุ้งก้ามกราม
เนื้อหมู
ปลาแซลมอน
-แหล่งอาหารสังกะสีจากพืช
ถั่ว (ถั่ว)
ข้าวกล้อง
ถั่ว
ถั่วลิสง
มันฝรั่ง
เมล็ดฟักทองดอกทานตะวัน,, สควอชและแตงโม
เมล็ดธัญพืช (ซีเรียลและขนมปัง)
ผงช็อคโกแลตและโกโก้
ชีส
นม
โยเกิร์ต
แป้งถั่วและเนย
อาหารที่สมดุลเป็นสิ่งสำคัญ
******Iron: อาหารที่มีธาตุเหล็กสูง ได้แก่
เลือดวัว 100 กรัม มีธาตุเหล็ก 44.1 มิลลิกรัม
เลือดหมู 100 กรัม มีธาตุเหล็ก 25.9 มิลลิกรัม
หมูหยอง 100 กรัม มีธาตุเหล็ก 17.8 มิลลิกรัม
ตับหมู 100 กรัม มีธาตุเหล็ก 10.5 มิลลิกรัม
แหล่งธาตุเหล็ก จากพืช
1. ผักกูด 36.3 มิลลิกรัม/ 100 กรัม
2. ถั่วฝักยาว 26 มิลลิกรัม/ 100 กรัม
3. ผักแว่น 25.2 มิลลิกรัม/ 100 กรัม
4. เห็ดฟาง 22.2 มิลลิกรัม/ 100 กรัม
5. พริกหวาน 17.2 มิลลิกรัม/ 100 กรัม
6. ใบแมงลัก 17.2 มิลลิกรัม/ 100 กรัม
7. ใบกะเพรา 15.1 มิลลิกรัม/ 100 กรัม
8. ผักเม็ก 11.6 มิลลิกรัม/ 100 กรัม
9. มะกอก (ยอด) 9.9 มิลลิกรัม/ 100 กรัม
10. กระถิน (ยอดอ่อน) 9.2 มิลลิกรัม/ 100 กรัม
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น